Page 30 - 41บัญญัติสุข 10 ประการ
P. 30

6. คิดแลพัดการบัญเ'ทเชิงรุก



                                                               J


                 เวลามีปัญหาทุกข์ใจ  เรามีทางเลือกในการคิดแก้ปัญหา  สองวิธี


                 วิธีแรก  คิดถึงปัญหาและสิ่งเลวร้ายที่อาจเกิดขึ้น


                 วิธีที่สอง  คิดถึงสิ่งที่เราทำได้ แล้วเรียบเรียงเป็นแผนการลงมือทำ

                 หากใช้วิธีแรก  เรามีแนวโน้มที่จะวิตกกังวลกับเรื่องต่าง ๆ จนรู้ลืกเหมือน

           ตัวเองตกเป็นเหยื่อของเหตุการณ์ เป็นฝ่ายถูกกระทำ สูญเลืยพลังงานไปกับความ

           วิตกกังวล ซึ่งมักจะไม่ช่วยให้สถานการณ์ดีขึ้น


                 หากใช้วิธีที่สอง  เราใช้พลังงานไปกับการลงมือทำในสิงที่ทำได้ และทำอย่าง

           เป็นขั้นตอน จะ'ช่วย'ให้เรารู้ลืก'ว่า  เรายังตัดสินใจเรื่องต่างๆ ได้  เราจัดการชีวิตได้

           และไม่เลืยเวลาไปกับการคิดกังวลเกินควร


                 ผู้เลือกใช้วิธีที่สองมักจะมีทักษะความคิดที่ดีกว่า มีความทรงจำดีกว่า มีความ

           พร้อมรับสิงท้าทายในชีวิตได้มากกว่า หากเจ็บป่วยกิจะพันตัวจากความเจ็บป่วยได้

           ง่ายและเร็วกว่า  มีลัมพันธภาพกับคนอื่น  ๆ  ที่ดีก'ว่า  ปรับตัวเก่งกว่า  และมีความ

           พอใจในชีวิตโดยรวมมากกว่า

                 หัวใจสำคัญในเรื่องนี้ คือความสามารถในการแยกแยะว่า เราสามารถทำอะไร

           ได้บ้าง และอะไรบ้างที่เราทำไม่ได้ รู้จักทำใจยอมรับในสิงที่ทำไม่ได้ มุ่งใช้พลังงาน

           ไปกับการลงมือทำในสิงที่ทำได้ จนเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี เห็นผลตามที่ต้องการ

                 มีขั้นตอนง่ายๆ ในการแปลงปัญหาให้กลายเป็นแผนการลงมือทำ  ตังนี้


                 หนึ่ง  ทำความเช้าใจปัญหา  โดยการถามตัวเองว่า  “มันเป็นปัญหาอย่างไร”

           ถามซํ้าๆ จนมองเห็นปัญหาได้ซัดเจนขึ้น แล้วลองสรุปปัญหาด้วยประโยคลัน ๆ ที่

           เช้าใจได้ง่ายว่าปัญหาคืออะไร








                                                                   บัญญัติสุข 10 ประการ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35